Loading…

ผู้ช่วยศาสตราจารย์อรรควิช จารึกจารีต

รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

ประวัติการศึกษา

ระดับการศึกษา คุณวุฒิ สถาบัน
ปริญญาโท การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)

สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์

แขนงวิชาจิตวิทยาการศึกษา

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปริญญาตรี การศึกษาบัณฑิต (กศ.บ.) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ผลงานทางวิชาการ

  1. อรรควิช จารึกจารีต. (2561). จิตวิทยาการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: แดเน็กซ์อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น (ISBN : 978-616-468-761-5)
  2. อรรควิช จารึกจารีต. (2561). เอกสารประกอบการสอน จว.201 จิตวิทยาการรู้คิด. กรุงเทพฯ: คณะจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
  3. อรรควิช จารึกจารีต. (2558). เอกสารประกอบการสอน จว.437 การส่งเสริมพัฒนาการด้านการคิดและความคิดสร้างสรรค์ในเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: คณะจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
  4. ประณต เค้าฉิม และคณะ. (2562). เอกสารประกอบการสอน จว.100 จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ: คณะจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต (อรรควิช จารึกจารีต ผู้เขียนร่วม บทที่ 5 การรับสัมผัสและการรับรู้ และบทที่ 6 การเรียนรู้)
  5. อรรควิช จารึกจารีต, อธิวัฒน์ รัตนวงศ์แข และนภาพร อยู่ถาวร. (2560). ความแตกต่างของบุคคลด้านรูปแบบการเรียนรู้. วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, 7(2), 66-74
  6. คมเพชร ฉัตรศุภกุล, ประณต เค้าฉิม, อรรควิช จารึกจารีต และปิยวรรณ บุญเพ็ญ. (2562). ผลของโปรแกรมจิตศึกษาสำหรับพ่อแม่ ต่อความเข้มแข็งของครอบครัวที่มีลูกบกพร่องทางสติปัญญา. รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ: คณะจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต [ได้รับทุนสนับสนุนจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)]
  7. คมเพชร ฉัตรศุภกุล, ประณต เค้าฉิม, อรรควิช จารึกจารีต และปิยวรรณ บุญเพ็ญ. (2562). เอกสารความรู้ประกอบการจัดโปรแกรมจิตศึกษาสำหรับพ่อแม่ สำหรับพัฒนาความเข้มแข็งของครอบครัวที่มีลูกบกพร่องทางสติปัญญา. กรุงเทพฯ: คณะจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. [ได้รับทุนสนับสนุนจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)]
  8. อรรควิช จารึกจารีต. (2562). ความสิ้นหวังจากการเรียนรู้ (Learned Helplessness). สารานุกรมศึกษาศาสตร์. 54, 18-23 อ่านบทความ Clickที่นี่
  9. อธิวัฒน์ รัตนวงศ์แข และ อรรควิช จารึกจารีต. (2564). สมรรถนะด้านความรู้ของนักจิตวิทยาอุตสาหกรร,และองค์การในศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (สสอท.), 27(2), 136 – 148.
  10. อธิวัฒน์ รัตนวงศ์แข และ อรรควิช จารึกจารีต. (2564). สมรรถนะของนักจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การในศตวรรษที่ 21. รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ: แดเน็กซ์อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น. [ได้รับทุนสนับสนุนจาก มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต]

วุฒิบัตร และใบรับรอง

  1. วุฒิบัตร โครงการสัมมนาวิชาการทางการศึกษาพิเศษ เรื่อง การให้ความช่วยเหลือด้านพฤติกรรมนักเรียนที่มีภาวะสมาธิสั้น สาขาวิชาการศึกษาพิเศษ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  2. Certificate of ON-LINE RESEARCH ETHICS TRAINING, National Research Council of  Thailand (NRCT) and Forum for Ethical Review Committee in Thailand (FERCIT)
  3. Certificate of Management of teaching and learning to the potential of students, Satit Bilingual School of Rangsit University
  4. Certificate of CHULA MOOC (ทรัพย์สินทางปัญญากับธุรกิจ และการพัฒนานวัตกรรม), Chulalongkorn University Intellectual Property Institute
  5. Certificate of CHULA MOOC (Environment 4.0), Department of Environment Engineering, Faculty of Engineering, Chulalongkorn University
  6. Certificate of CHULA MOOC (Practical Data Analysis Using Rapid Miner), Department of Computer Engineering, Faculty of Engineering, Chulalongkorn University
  7. ประกาศนียบัตร หลักสูตรการให้การปรึกษาวัยรุ่น รับรองโดยกรมสุขภาพจิต สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์
  8. ประกาศนียบัตร รายวิชาจิตวิทยาข้ามวัฒนธรรมในที่ทำงาน (Cross-cultural psychology at work) โดย กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
  9. Certificate of completion หลักสูตรหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ สำหรับคณะกรรมการจริยธรรม, National research council of Thailand
  10. ใบรับรองการอบรมหลักสูตรการควบคุมยาสูบพื้นฐาน (Tobacco Control Basic Course) โดย ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อควบคุมยาสูบ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  11. เกียรติบัตร โครงการสัมมนา เรื่อง Innovative Technology for Developing A Smarter Brain โดย หลักสูตรสมอง จิตใจ และการเรียนรู้ หน่วยวิจัยและพัฒนาสมองจิตใจ และการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

 

ประการณ์ทำงานด้านการสอน (รายวิชาที่สอนในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา)

  1. PSY101 จิตวิทยาทั่วไป (General Psychology)
  2. PSY103 ชีวจิตวิทยาเบื้องต้น (Introduction to Biological Psychology)
  3. PSY201 จิตวิทยาการรู้คิด (Cognitive Psychology)
  4. PSY202 จิตวิทยาการเรียนรู้ (Psychology of Learning)
  5. PY.403 สัมมนาประเด็นปัญหาและแนวโน้มทางจิตวิทยา (Seminar in Special in Issues and Trends in Psychology)
  6. PY.404 โครงงานพิเศษทางจิตวิทยา (Special Project in Psychology)
  7. PY.434 จิตวิทยาเด็กพิเศษ (Psychology of Special Children)
  8. PY.437 การส่งเสริมพัฒนาการด้านการคิดและความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย (Enhancing Thinking and Creative Thinking Development for Early Childhood)

 

ประสบการณ์ทำงานด้านการเป็นวิทยากร

  1. วิทยากรบรรยายหัวข้อ ครูที่ปรึกษากับปัญหานักเรียน นักศึกษาวัยรุ่น ให้กับครูวิทยาลัยพณิชยการบางนา
  2. วิทยากรบรรยายหัวข้อ การตั้งเป้าหมายชีวิต ให้กับผู้ต้องขังหญิงในเรือนจำพิเศษมีนบุรี
  3. วิทยากรบรรยายหัวข้อ การจัดการความเครียด ให้กับผู้ต้องขังหญิงในเรือนจำพิเศษมีนบุรี
  4. วิทยากรบรรยายหัวข้อ การเข้าใจและดูแลเด็กระดับประถมศึกษา ให้กับครูโรงเรียนวัดปากบ่อ
  5. วิทยากรบรรยายหัวข้อ เพิ่มการคิด พิชิตการสอน ให้กับครูผู้ดูแลเด็กพิเศษของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยรังสิต
  6. วิทยากรบรรยายหัวข้อ การพัฒนาทักษะการคิด การใช้เหตุผล และการแก้ปัญหาของลูก ให้กับพ่อแม่ ผู้ปกครองของเด็กในศูนย์การศึกษาพิเศษส่วนกลาง
  7. วิทยากรบรรยายหัวข้อ การเสริมสร้าง IQ EQ ในเด็กเล็ก ให้กับผู้ดูแลเด็กของสำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร

 

ประสบการณ์ทำงานด้านการตรวจเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

  1. ผู้เชี่ยวชาญตรวจเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
  2. ผู้เชี่ยวชาญตรวจเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  3. ผู้เชี่ยวชาญตรวจเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  4. ผู้เชี่ยวชาญตรวจเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยของนิสิตระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  5. ผู้เชี่ยวชาญตรวจเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยของนิสิตระดับปริญญาโท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

ประสบการณ์ทำงานในสายงานอาจารย์

  1. คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
  2. คณะกรรมการตารางสอน ตารางสอบ คณะจิตวิทยา
  3. คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาระดับคณะ
  4. คณะกรรมการบริการวิชาการแก่สังคมระดับคณะ
  5. คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา
  6. คณะกรรมการจัดทำแผนกลยุทธ์คณะจิตวิทยา
  7. คณะอนุกรรมการดำเนินการจัดการความรู้ระดับคณะ
  8. คณะกรรมการวิชาการ คณะจิตวิทยา
  9. คณะกรรมการและอนุกรรมการวิชาการพิจารณาการเทียบโอนรายวิชาและโอนหน่วยกิต
  10. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงคณะจิตวิทยา
  11. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา
  12. คณะอนุกรรมการคุมสอบ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
  13. คณะกรรมการกำกับคุณภาพการจัดการเรียนการสอน คณะจิตวิทยา
  14. อาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาคณะจิตวิทยา
  15. อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานพิเศษทางจิตวิทยา
  16. อาจารย์ผู้รับผิดชอบการจัดโครงการบริการวิชาการ ด้านการส่งเสริมและพัฒนาการคิดในเด็กปฐมวัย

 

ประสบการณ์ทำงานที่ได้รับทุนจากหน่วยงานระดับชาติ

  1. นักวิจัย โครงการวิจัย : ผลของโปรแกรมจิตศึกษาสำหรับพ่อแม่ ต่อความเข้มแข็งของครอบครัวที่มีลูกบกพร่องทางสติปัญญา ได้รับทุนสนับสนุนจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
  2. คณะที่ปรึกษาโครงการจัดทำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพบริการสุขภาพ อาชีพช่างวัดสายตาประกอบแว่น ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน)
  3. หัวหน้าโครงการปลูกฝังคุณธรรม และส่งเสริมการอ่าน โดยใช้หนังสือนิทานประกอบภาพและอักษร เบรลล์ สำหรับเด็กทั่วไปและเด็กที่บกพร่องทางการมองเห็นระดับประถมศึกษาตอนต้น ได้รับทุนสนับสนุนจาก กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์